สวัสดีครับ อดิศร ครับ
ในข้อที่ 1 วิธีการโดยสรุปก็คือ จะต้องมีการตกลงกันล่วงหน้าก่อนระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ซึ่งสามารถดำเนินการได้สองวิธีคือ
1. นายจ้างเป็นผู้กำหนดไปเลย โดยนายจ้างก็มีสิทธิที่จะกำหนดได้ว่าจะให้ลูกจ้างหยุดวันไหน แต่จะต้องไม่ไปทับซ้อนกับวันหยุดอื่นที่ลูกจ้างได้สิทธิตามกฎหมาย เช่นวันหยุดตามประเพณี
ถ้านายจ้างกำหนดแล้ว ลูกจ้างไม่ได้ติดขัดอะไร ก็ใช้วิธีนี้ได้เลยครับ
2. นายจ้างเรียกลูกจ้างมาคุยหรือตกลงกันก่อน ให้สะดวกกันทั้งสองฝ่ายว่าจะหยุดวันไหน หรือหากมีความจำเป็นที่ไม่สามารถให้ยหุดได้ในปีนั้น ก็ตกลงกันโดยนายจ้างจ่ายเป็นค่าจ้างชดเชยให้แทนก็ได้
ทั้งสองขอนี้ไม่จำเป็นว่าจะต้องหยดุติดต่อกันรวดเดียวนะครับ ในปีนั้น ๆ ก็อาจจะแบ่งช่วงการหยุดได้ แล้วแต่จะตกลงกันครับ
ส่วนในข้อที่ 2 ถ้าจะเอาสิทธิวันหยุดพักผ่อนประจำปีมาคำนวณเป็นเบี้ยขยัน ก็ทำได้นะครับ ไม่ได้ผิดกฎหมายข้อใด เพราะเบี้ยขยันเป็นค่าตอบแทนที่อยู่นอกเหนือจากที่กฎหมายกำหนดอยู่แล้วครับ
แต่ถ้าถามว่าเหมาะสมหรือไม่ อันนี้ก็พูดยากนะครับ อยู่ที่นโยบายของแต่ละองค์กรจะกำหนดทิศทางการบริหารคนอย่างไร แต่โดยส่วนตัวแล้ว ไม่ควรนำมาคิดผูกมัดกับเงื่อนไขอะไรทั้งสิ้นครับ
เพราะมันเป็นสิทธิของลูกจ้าง การที่นำเรื่องทำนองนี้มาผูกมัดเป็นเงื่อนไข จะทำให้ขวัญกำลังของคนในองค์กรเสียไปเปล่า ๆ ครับ
เจตนารมณ์ของวันหยุดพักผ่อนประจำปี เค้าต้องการให้ลูกจ้างมีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้พักผ่อน ได้อยู่กับครอบครัวบ้าง ได้เปิดหูเปิดตา ซึ่งมันก็จะส่งผลดีต่อประสิทธิภาพของคนในองค์กรด้วย
เพราะหากลูกจ้างมีความสุขในการทำงาน งานที่ลูกจ้างทำก็จะออกมาดีครับ ปัญหาอย่างอื่นจะลดน้อยลงไปอย่าสงมาก เพราะคนในองค์กรมีสัมพันธ์ภาพและทัศนคติที่ดีต่อองค์กรครับ
อดิศร
From: m_hrm@hotmail.com
To: adisorn_pers@hotmail.com; nikornsawangkot67@gmail.com
Subject: RE: [SIAMHRM.COM :47334] กรณีการปลดออก
Date: Fri, 18 Jan 2013 16:43:39 +0700
ในข้อที่ 1 วิธีการโดยสรุปก็คือ จะต้องมีการตกลงกันล่วงหน้าก่อนระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ซึ่งสามารถดำเนินการได้สองวิธีคือ
1. นายจ้างเป็นผู้กำหนดไปเลย โดยนายจ้างก็มีสิทธิที่จะกำหนดได้ว่าจะให้ลูกจ้างหยุดวันไหน แต่จะต้องไม่ไปทับซ้อนกับวันหยุดอื่นที่ลูกจ้างได้สิทธิตามกฎหมาย เช่นวันหยุดตามประเพณี
ถ้านายจ้างกำหนดแล้ว ลูกจ้างไม่ได้ติดขัดอะไร ก็ใช้วิธีนี้ได้เลยครับ
2. นายจ้างเรียกลูกจ้างมาคุยหรือตกลงกันก่อน ให้สะดวกกันทั้งสองฝ่ายว่าจะหยุดวันไหน หรือหากมีความจำเป็นที่ไม่สามารถให้ยหุดได้ในปีนั้น ก็ตกลงกันโดยนายจ้างจ่ายเป็นค่าจ้างชดเชยให้แทนก็ได้
ทั้งสองขอนี้ไม่จำเป็นว่าจะต้องหยดุติดต่อกันรวดเดียวนะครับ ในปีนั้น ๆ ก็อาจจะแบ่งช่วงการหยุดได้ แล้วแต่จะตกลงกันครับ
ส่วนในข้อที่ 2 ถ้าจะเอาสิทธิวันหยุดพักผ่อนประจำปีมาคำนวณเป็นเบี้ยขยัน ก็ทำได้นะครับ ไม่ได้ผิดกฎหมายข้อใด เพราะเบี้ยขยันเป็นค่าตอบแทนที่อยู่นอกเหนือจากที่กฎหมายกำหนดอยู่แล้วครับ
แต่ถ้าถามว่าเหมาะสมหรือไม่ อันนี้ก็พูดยากนะครับ อยู่ที่นโยบายของแต่ละองค์กรจะกำหนดทิศทางการบริหารคนอย่างไร แต่โดยส่วนตัวแล้ว ไม่ควรนำมาคิดผูกมัดกับเงื่อนไขอะไรทั้งสิ้นครับ
เพราะมันเป็นสิทธิของลูกจ้าง การที่นำเรื่องทำนองนี้มาผูกมัดเป็นเงื่อนไข จะทำให้ขวัญกำลังของคนในองค์กรเสียไปเปล่า ๆ ครับ
เจตนารมณ์ของวันหยุดพักผ่อนประจำปี เค้าต้องการให้ลูกจ้างมีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้พักผ่อน ได้อยู่กับครอบครัวบ้าง ได้เปิดหูเปิดตา ซึ่งมันก็จะส่งผลดีต่อประสิทธิภาพของคนในองค์กรด้วย
เพราะหากลูกจ้างมีความสุขในการทำงาน งานที่ลูกจ้างทำก็จะออกมาดีครับ ปัญหาอย่างอื่นจะลดน้อยลงไปอย่าสงมาก เพราะคนในองค์กรมีสัมพันธ์ภาพและทัศนคติที่ดีต่อองค์กรครับ
อดิศร
From: m_hrm@hotmail.com
To: adisorn_pers@hotmail.com; nikornsawangkot67@gmail.com
Subject: RE: [SIAMHRM.COM :47334] กรณีการปลดออก
Date: Fri, 18 Jan 2013 16:43:39 +0700
เรียนอ.อดิศร
ขอทำความเข้าใจเพิ่มเติมนะคะ
นายจ้างมีหน้าที่ต้องจัดให้ลูกจ้างได้หยุดไปเลยในแต่ละปี วันไหนก็ได้ครับ
หรือนายจ้างกับลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าไปเลยว่าจะหยุดวันไหน หรือถ้าไม่หยุดก็ตกลงกันให้ลูกจ้างได้รับค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปี เป็นการชดเชยให้แทน
1. การตีความ หมายความว่า ใน 1 ปีนั้น นายจ้างจัดวันหยุดพักผ่อนให้ลูกจ้างใน 1 ปี คือ 8 วัน ถ้านายจ้างไม่ได้ตกลงกับลูกจ้างว่าหยุดวันไหน เดือนใด ก็คือ ลูกจ้า่งมีสิทธิหยุดพักผ่อนประจำปี ได้ตลอด ตั้งแต่ ม.ค. - ธ.ค. ของปีนั้น ๆ เดือนไหน วันไหนก็ได้ ส่วนการลาให้เป็นไปตามตกลง เช่น หยุดได้ติดต่อกันไม่เกิน 3 วัน และถ้าพนักงานไม่ใช้สิทธิ์หยุดพักผ่อน นายจ้างอาจตกลงกับลูกจ้าง จ่ายเป็นค่าจ้างชดเชยให้ได้
2. สิทธิวันหยุดพักผ่อนประจำปี สามารถนำมารวมกับการคำนวณเบี้ยขยัน กรณีไม่ขาด ลา มาสาย ได้หรือไม่คะ (ตามความคิด ในเมื่อเป็นสิทธิ ไม่ใช่การลา ก็ไม่ควรนำมาหักเบี้ยขยันค่ะ )
ขอบคุณค่ะ
นภาพร
From: adisorn_pers@hotmail.com
To: nikornsawangkot67@gmail.com; siamhrm@googlegroups.com
Subject: RE: [SIAMHRM.COM :47334] กรณีการปลดออก
Date: Fri, 18 Jan 2013 14:01:45 +0700
--
- โปรดร่วมกัน เสวนา ถาม-ตอบ วันละ 1 กระทู้ สร้างความรู้ใหม่ได้ มหาศาล -
แนะนำ :
http://www.JobSiam.com : โปรโมชั่น สุดคุ้ม*! ลด 20% + Flash Drive 16GB ฟรี ฟรี (ขอใบเสนอราคา หรือ โทรสอบถามทีมงานได้ค่ะ) ถึง 31 มค.56 นี้
http://www.SiamHRM.com : สยามเอชอาร์เอ็ม ดอทคอม รวมพลคนทำงาน มากที่สุด
http://www.facebook.com/JobSiam ** กด Like เป็น Fan Page ของเรานะค่ะ **
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
คุณได้รับข้อความนี้เนื่องจากคุณเป็นสมาชิกกลุ่ม "บริหารทรัพยากรมนุษย์ ประเทศไทย"
- หากต้องการโพสต์ ถึงกลุ่มนี้ ให้ส่งอีเมลไปที่ siamhrm@googlegroups.com
- หากต้องการยกเลิกการเป็นสมาชิกกลุ่ม ส่งอีเมลไปที่ siamhrm+unsubscribe@googlegroups.com (ยืนยัน การยกเลิกใน Email อีกครั้ง.)
- หากต้องการดูกระทู้ หัวข้อ HR โปรดไปที่กลุ่มนี้โดยคลิกที่ http://groups.google.co.th/group/siamhrm?hl=th&pli=1
- เนื่องจากสมาชิกมีจำนวนมาก สมาชิกทุกท่าน ควรอ่านกติกา มารยาท และใช้เมล์กรุ๊ปร่วมกัน อย่างสร้างสรรค์
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
---
คุณได้รับข้อความนี้เนื่องจากคุณสมัครรับข้อมูลจากกลุ่ม "บริหารทรัพยากรมนุษย์" ของ Google Groups
หากต้องการโพสต์ถึงกลุ่มนี้ ให้ส่งอีเมลไปที่ siamhrm@googlegroups.com
หากต้องการยกเลิกการสมัครสำหรับกลุ่มนี้ โปรดส่งอีเมลไปที่ siamhrm+unsubscribe@googlegroups.com
กรุณาเข้าสู่กลุ่มนี้ที่ http://groups.google.com/group/siamhrm?hl=th
หากต้องการดูตัวเลือกเพิ่มเติม กรุณาดูที่ https://groups.google.com/groups/opt_out
ขอทำความเข้าใจเพิ่มเติมนะคะ
นายจ้างมีหน้าที่ต้องจัดให้ลูกจ้างได้หยุดไปเลยในแต่ละปี วันไหนก็ได้ครับ
หรือนายจ้างกับลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าไปเลยว่าจะหยุดวันไหน หรือถ้าไม่หยุดก็ตกลงกันให้ลูกจ้างได้รับค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปี เป็นการชดเชยให้แทน
1. การตีความ หมายความว่า ใน 1 ปีนั้น นายจ้างจัดวันหยุดพักผ่อนให้ลูกจ้างใน 1 ปี คือ 8 วัน ถ้านายจ้างไม่ได้ตกลงกับลูกจ้างว่าหยุดวันไหน เดือนใด ก็คือ ลูกจ้า่งมีสิทธิหยุดพักผ่อนประจำปี ได้ตลอด ตั้งแต่ ม.ค. - ธ.ค. ของปีนั้น ๆ เดือนไหน วันไหนก็ได้ ส่วนการลาให้เป็นไปตามตกลง เช่น หยุดได้ติดต่อกันไม่เกิน 3 วัน และถ้าพนักงานไม่ใช้สิทธิ์หยุดพักผ่อน นายจ้างอาจตกลงกับลูกจ้าง จ่ายเป็นค่าจ้างชดเชยให้ได้
2. สิทธิวันหยุดพักผ่อนประจำปี สามารถนำมารวมกับการคำนวณเบี้ยขยัน กรณีไม่ขาด ลา มาสาย ได้หรือไม่คะ (ตามความคิด ในเมื่อเป็นสิทธิ ไม่ใช่การลา ก็ไม่ควรนำมาหักเบี้ยขยันค่ะ )
ขอบคุณค่ะ
นภาพร
From: adisorn_pers@hotmail.com
To: nikornsawangkot67@gmail.com; siamhrm@googlegroups.com
Subject: RE: [SIAMHRM.COM :47334] กรณีการปลดออก
Date: Fri, 18 Jan 2013 14:01:45 +0700
สวัสดีครับ อดิศร ครับ
กรณีนี้ นายจ้างทำผิดกฎหมายตั้งแต่การใช้คำว่าลาพักร้อนและวิธีการปฏิบัติที่ต้องให้ลูกจ้างมาขอลา แล้วไม่อนุมัติให้ลาพักร้อนแล้วครับ
เหตุผลเพราะการลาพักร้อนไม่มีในกฎหมาย มีแต่วันหยุดพักผ่อนประจำปีตามมาตรา 30 ซึ่งเป็นวันหยุด ไม่ใช่วันลาครับ
ผมเกรงว่าลูกจ้างไปฟ้อง นายจ้างก็จะแพ้ฟาวไปตั้งแต่ต้นแล้ว เพราะมีการปฏิบัติในมาตรา 30 ผิดไปจากเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมายครับ
วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องคือ วันหยุดพักผ่อนประจำปีนี้ นายจ้างมีหน้าที่ต้องจัดให้ลูกจ้างได้หยุดไปเลยในแต่ละปี วันไหนก็ได้ครับ
หรือนายจ้างกับลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าไปเลยว่าจะหยุดวันไหน หรือถ้าไม่หยุดก็ตกลงกันให้ลูกจ้างได้รับค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปีเป็นการชดเชยให้แทน
เนื่องจากวันหยุดพักผ่อนประจำปีนั้น นายจ้างจะต้องจ่ายค่าจ้างให้ตามมาตรา 56 ด้วยครับ
หากนายจ้างจะยกเอาเหตุกาณ์ที่ลูกจ้างใช้สิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีนี้มาเลิกจ้างก็เข้าข่ายว่า นายจ้างเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
ซึ่งลูกจ้างฟ้องได้ โดยศาลอาจจะสั่งให้นายจ้างรับลูกจ้างเข้าทำงานในตำแหน่งเดิม หรือหากลูกจ้างไม่ประสงค์ที่จะทำงานต่อไป นายจ้างก็ต้องจ่ายค่าชดเชยตามมาตรา 118 ให้แก่ลูกจ้าง
นอกจากนี้ลูกจ้างก็อาจฟ้องใน พรบ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานในมาตรา 49 เพื่อเรียกร้องค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมได้อีกต่างหากนอกเหนือจากค่าชดเชยตามมาตรา 118 ครับ
อดิศร
Date: Fri, 18 Jan 2013 13:14:16 +0700
Subject: [SIAMHRM.COM :47332] กรณีการปลดออก
From: nikornsawangkot67@gmail.com
To: siamhrm@googlegroups.com
--
- โปรดร่วมกัน เสวนา ถาม-ตอบ วันละ 1 กระทู้ สร้างความรู้ใหม่ได้ มหาศาล -
แนะนำ :
http://www.JobSiam.com : โปรโมชั่น สุดคุ้ม*! ลด 20% + Flash Drive 16GB ฟรี ฟรี (ขอใบเสนอราคา หรือ โทรสอบถามทีมงานได้ค่ะ) ถึง 31 มค.56 นี้
http://www.SiamHRM.com : สยามเอชอาร์เอ็ม ดอทคอม รวมพลคนทำงาน มากที่สุด
http://www.facebook.com/JobSiam ** กด Like เป็น Fan Page ของเรานะค่ะ **
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
คุณได้รับข้อความนี้เนื่องจากคุณเป็นสมาชิกกลุ่ม "บริหารทรัพยากรมนุษย์ ประเทศไทย"
- หากต้องการโพสต์ ถึงกลุ่มนี้ ให้ส่งอีเมลไปที่ siamhrm@googlegroups.com
- หากต้องการยกเลิกการเป็นสมาชิกกลุ่ม ส่งอีเมลไปที่ siamhrm+unsubscribe@googlegroups.com (ยืนยัน การยกเลิกใน Email อีกครั้ง.)
- หากต้องการดูกระทู้ หัวข้อ HR โปรดไปที่กลุ่มนี้โดยคลิกที่ http://groups.google.co.th/group/siamhrm?hl=th&pli=1
- เนื่องจากสมาชิกมีจำนวนมาก สมาชิกทุกท่าน ควรอ่านกติกา มารยาท และใช้เมล์กรุ๊ปร่วมกัน อย่างสร้างสรรค์
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
---
คุณได้รับข้อความนี้เนื่องจากคุณสมัครรับข้อมูลจากกลุ่ม "บริหารทรัพยากรมนุษย์" ของ Google Groups
หากต้องการโพสต์ถึงกลุ่มนี้ ให้ส่งอีเมลไปที่ siamhrm@googlegroups.com
หากต้องการยกเลิกการสมัครสำหรับกลุ่มนี้ โปรดส่งอีเมลไปที่ siamhrm+unsubscribe@googlegroups.com
กรุณาเข้าสู่กลุ่มนี้ที่ http://groups.google.com/group/siamhrm?hl=th
หากต้องการดูตัวเลือกเพิ่มเติม กรุณาดูที่ https://groups.google.com/groups/opt_out
กรณีนี้ นายจ้างทำผิดกฎหมายตั้งแต่การใช้คำว่าลาพักร้อนและวิธีการปฏิบัติที่ต้องให้ลูกจ้างมาขอลา แล้วไม่อนุมัติให้ลาพักร้อนแล้วครับ
เหตุผลเพราะการลาพักร้อนไม่มีในกฎหมาย มีแต่วันหยุดพักผ่อนประจำปีตามมาตรา 30 ซึ่งเป็นวันหยุด ไม่ใช่วันลาครับ
ผมเกรงว่าลูกจ้างไปฟ้อง นายจ้างก็จะแพ้ฟาวไปตั้งแต่ต้นแล้ว เพราะมีการปฏิบัติในมาตรา 30 ผิดไปจากเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมายครับ
วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องคือ วันหยุดพักผ่อนประจำปีนี้ นายจ้างมีหน้าที่ต้องจัดให้ลูกจ้างได้หยุดไปเลยในแต่ละปี วันไหนก็ได้ครับ
หรือนายจ้างกับลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าไปเลยว่าจะหยุดวันไหน หรือถ้าไม่หยุดก็ตกลงกันให้ลูกจ้างได้รับค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปีเป็นการชดเชยให้แทน
เนื่องจากวันหยุดพักผ่อนประจำปีนั้น นายจ้างจะต้องจ่ายค่าจ้างให้ตามมาตรา 56 ด้วยครับ
หากนายจ้างจะยกเอาเหตุกาณ์ที่ลูกจ้างใช้สิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีนี้มาเลิกจ้างก็เข้าข่ายว่า นายจ้างเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
ซึ่งลูกจ้างฟ้องได้ โดยศาลอาจจะสั่งให้นายจ้างรับลูกจ้างเข้าทำงานในตำแหน่งเดิม หรือหากลูกจ้างไม่ประสงค์ที่จะทำงานต่อไป นายจ้างก็ต้องจ่ายค่าชดเชยตามมาตรา 118 ให้แก่ลูกจ้าง
นอกจากนี้ลูกจ้างก็อาจฟ้องใน พรบ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานในมาตรา 49 เพื่อเรียกร้องค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมได้อีกต่างหากนอกเหนือจากค่าชดเชยตามมาตรา 118 ครับ
อดิศร
Date: Fri, 18 Jan 2013 13:14:16 +0700
Subject: [SIAMHRM.COM :47332] กรณีการปลดออก
From: nikornsawangkot67@gmail.com
To: siamhrm@googlegroups.com
ขอแชร์ครับ
กรณีพนักงานใช้สิทธิ์ลาพักร้อนเพื่อเดินทางไปเที่ยวต่างประเทศ โดยได้ขออนุมัติการลา โดยในระดับหัวหน้าได้อนุมัติแต่ในระดับผู้บริหารไม่่อนุมัติ โดยขอให้เลื่อนการลาออกไปก่อน
แต่ด้วยพนักงานได้จองตั่วเครื่องบิน ห้องพัก และได้เตรียมการทุกอย่างไว้หมดแล้วไม่สามารถเลื่อนหรือขยับวันออกไปได้
จึงได้หยุดงานไปเป็นเวลา 4 วัน เมือ่พนักงานกลับมาทำงาน
นายจ้างสั่งปลดออก จากการเป็นพนักงานบริษัทฯ
กรณีการกระทำของนายจ้างเข้าข่ายเลิกจ้างไม่เป็นกรรมหรือเปล่า หากเรื่องถึงแรงงาน หรือถึงศาลแรงงาน แนวโน้มคดีดังกล่าวแรงงานจะให้จบอย่างไรครับ
ท่านใด พอมีประสบการณ์ในเรื่องดังกล่าว ช่วยแชร์ด้วยครับ
ขอบคุณครับ
คุณกร
--
- โปรดร่วมกัน เสวนา ถาม-ตอบ วันละ 1 กระทู้ สร้างความรู้ใหม่ได้ มหาศาล -
แนะนำ :
http://www.JobSiam.com : โปรโมชั่น สุดคุ้ม*! ลด 20% + Flash Drive 16GB ฟรี ฟรี (ขอใบเสนอราคา หรือ โทรสอบถามทีมงานได้ค่ะ) ถึง 31 มค.56 นี้
http://www.SiamHRM.com : สยามเอชอาร์เอ็ม ดอทคอม รวมพลคนทำงาน มากที่สุด
http://www.facebook.com/JobSiam ** กด Like เป็น Fan Page ของเรานะค่ะ **
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
คุณได้รับข้อความนี้เนื่องจากคุณเป็นสมาชิกกลุ่ม "บริหารทรัพยากรมนุษย์ ประเทศไทย"
- หากต้องการโพสต์ ถึงกลุ่มนี้ ให้ส่งอีเมลไปที่ siamhrm@googlegroups.com
- หากต้องการยกเลิกการเป็นสมาชิกกลุ่ม ส่งอีเมลไปที่ siamhrm+unsubscribe@googlegroups.com (ยืนยัน การยกเลิกใน Email อีกครั้ง.)
- หากต้องการดูกระทู้ หัวข้อ HR โปรดไปที่กลุ่มนี้โดยคลิกที่ http://groups.google.co.th/group/siamhrm?hl=th&pli=1
- เนื่องจากสมาชิกมีจำนวนมาก สมาชิกทุกท่าน ควรอ่านกติกา มารยาท และใช้เมล์กรุ๊ปร่วมกัน อย่างสร้างสรรค์
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
---
คุณได้รับข้อความนี้เนื่องจากคุณสมัครรับข้อมูลจากกลุ่ม "บริหารทรัพยากรมนุษย์" ของ Google Groups
หากต้องการโพสต์ถึงกลุ่มนี้ ให้ส่งอีเมลไปที่ siamhrm@googlegroups.com
หากต้องการยกเลิกการสมัครสำหรับกลุ่มนี้ โปรดส่งอีเมลไปที่ siamhrm+unsubscribe@googlegroups.com
กรุณาเข้าสู่กลุ่มนี้ที่ http://groups.google.com/group/siamhrm?hl=th
หากต้องการดูตัวเลือกเพิ่มเติม กรุณาดูที่ https://groups.google.com/groups/opt_out
--
- โปรดร่วมกัน เสวนา ถาม-ตอบ วันละ 1 กระทู้ สร้างความรู้ใหม่ได้ มหาศาล -
แนะนำ :
http://www.JobSiam.com : โปรโมชั่น สุดคุ้ม*! ลด 20% + Flash Drive 16GB ฟรี ฟรี (ขอใบเสนอราคา หรือ โทรสอบถามทีมงานได้ค่ะ) ถึง 31 มค.56 นี้
http://www.SiamHRM.com : สยามเอชอาร์เอ็ม ดอทคอม รวมพลคนทำงาน มากที่สุด
http://www.facebook.com/JobSiam ** กด Like เป็น Fan Page ของเรานะค่ะ **
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
คุณได้รับข้อความนี้เนื่องจากคุณเป็นสมาชิกกลุ่ม "บริหารทรัพยากรมนุษย์ ประเทศไทย"
- หากต้องการโพสต์ ถึงกลุ่มนี้ ให้ส่งอีเมลไปที่ siamhrm@googlegroups.com
- หากต้องการยกเลิกการเป็นสมาชิกกลุ่ม ส่งอีเมลไปที่ siamhrm+unsubscribe@googlegroups.com (ยืนยัน การยกเลิกใน Email อีกครั้ง.)
- หากต้องการดูกระทู้ หัวข้อ HR โปรดไปที่กลุ่มนี้โดยคลิกที่ http://groups.google.co.th/group/siamhrm?hl=th&pli=1
- เนื่องจากสมาชิกมีจำนวนมาก สมาชิกทุกท่าน ควรอ่านกติกา มารยาท และใช้เมล์กรุ๊ปร่วมกัน อย่างสร้างสรรค์
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
---
คุณได้รับข้อความนี้เนื่องจากคุณสมัครรับข้อมูลจากกลุ่ม "บริหารทรัพยากรมนุษย์" ของ Google Groups
หากต้องการโพสต์ถึงกลุ่มนี้ ให้ส่งอีเมลไปที่ siamhrm@googlegroups.com
หากต้องการยกเลิกการสมัครสำหรับกลุ่มนี้ โปรดส่งอีเมลไปที่ siamhrm+unsubscribe@googlegroups.com
กรุณาเข้าสู่กลุ่มนี้ที่ http://groups.google.com/group/siamhrm?hl=th
หากต้องการดูตัวเลือกเพิ่มเติม กรุณาดูที่ https://groups.google.com/groups/opt_out
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น