วันอังคารที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2551

[SIAMHRM.COM :7882] การดำเนินการทางวินัยปัญหาแรงงาน

  

การดำเนินการทางวินัยปัญหาแรงงาน

1. วิธีการสอบสวนพนักงาน
1). สอบเรียงเหตุการณ์ก่อน/หลัง ขณะเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุ
2). สอบสวนผู้กระทำผิดที่หัวแข็งก่อน
3). สอบสวนทันทีสด ๆ ร้อน ๆ
4). บันทึกการสอบสวนใช้หลัก 5 W.
5). สอบสวนให้เห็นภาพชัดเจน 6). ความผิดสำเร็จเกิดขึ้นเมื่อไหร่ 7). สอบสวนผู้เสียหายก่อน (โจทก์) 8). ผู้กล่าวอ้างต้องผู้สอบสวนก่อน 9). ผู้เกี่ยวข้องที่เป็นฝ่ายบริษัทฯควรไปศาล
2. การกำหนดประเด็นการสอบสวนความผิด และการตั้งคำถามที่ทำให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
1). พิจารณาจากข้อบังคับการทำงาน 2). การซักถามเป็นถาม-ตอบธรรมดา
3. การพิจารณาความผิดของลูกจ้าง
1). ผิดอะไร 2). เสียหายไหม 3). เหตุเลิกจ้างอ้างให้หมด 4). กรณีผิดซ้ำคำเตือนต้องระบุได้ว่าเตือนเมื่อไร
4. ก่อนลงโทษต้องให้ครบองค์ประกอบความผิดสำเร็จ
5. รูปแบบ และข้อความในหนังสือเตือน
1). ต้องบรรยายความผิดให้ชัดเจน 2). ผิดข้อบังคับข้อไหน 3). ต้องระบุห้ามฝ่าฝืนอีก ถ้าทำอีกจะลงโทษหนักขึ้น
4). ต้องแจ้งให้ลูกจ้างทราบ 5). ออกโดยผู้มีอำนาจเตือน หรือลงโทษ
6. ข้อควรระวังหนังสือเตือน ที่มีผลต่อการเลิกจ้าง
1). คำเตือนมีผลหรือไม่ 2). ระยะเวลาของคำเตือน ควรนานเพียงใด 3). รูปร่างหน้าของหนังสือเตือนต้องถูกต้องชัดเจน 4). ประมาทเตือนมิได้ 5). แจ้งหนังสือเตือนถูกต้องไหม 6). เป็นผู้มีอำนาจเตือนหรือไม่ 7). ทั้งเตือนทั้งตัดค่าจ้างได้ไหม 8). เตือนเวลาเช้า บ่ายเลิกจ้างได้ไหม 9). ต้องเป็นหนังสือ 10). ต้องระบุข้อเท็จจริงการกระทำความผิ 11). มีข้อความห้ามทำการฝ่าฝืน 12). ทราบคำเตือนแล้ว ม. 119 (4)
13). ไม่เกิน 1 ปีนับแต่กระทำผิด 14). ทำผิดซ้ำคำเตือน
6. ใครบ้างที่มีอำนาจเตือน : ต้องดูที่ข้อบังคับการทำงานของแต่ละบริษัทฯ

7. ก่อนการเลิกจ้างต้องพิจารณากฎหมายดังนี้
1). เงินประกัน ม. 10, ม. 144, ม. 158 2). ค่าบอกกล่าว ม. 17 ว. 2 3). ค่าชดเชย ม. 118, ม. 9, ม. 144 4). ค่าเสียหาย ม. 49
5). วันหยุดพักผ่อนประจำปี ม. 30, ม. 67, ม. 56.,ม. 146 6). รับกลับ+จ่ายค่าจ้าง ม. 49 7). สัญญามีกำหนดระยะเวลา ม. 17 วรรคแรก
8). ฝ่าฝืน ม. 121, ม. 123, ม. 158 9). สัญญาฝึกอบรม 10). ค่าจ้างระหว่างพักงาน ม. 116 11). ค่าจ้างค้างจ่าย ม. 70, ม. 144
12). ค่าเดินทางกลับ ม. 14 13). ค่าชดเชยพิเศษ/ค่าชดเชยแทนการบอกกล่างล่วงหน้า ม. 121, ม. 122 14). ดอกเบี้ย ม. 9 15). ใบผ่านงาน
16). การจ่ายผลประโยชน์ตามข้อตกลงหรือสวัสดิการ ม. 7 17). คดีอาญา ม. 144, ม. 158
8. ต้องพิจารณา และตรวจสอบการจ่ายค่าจ้าง สวัสดิการหรือผลประโยชน์ตามกฎหมาย หรือข้อตกลงหรือไม่ เพือให้ถูกฟ้องย้อนหลัง ตามมาตรา 9
9. กรณีร้ายแรงดูจาก
1). ผิดข้อบังคับหรือไม่ 2). ลักษณะการกระทำความผิด 3). ตำแหน่งผู้กระทำความผิด
4). สภาพของงาน 5). ผลอาจก่อให้เกิดความเสียหาย
6). สถานที่เกิดเหตุ
10. รูปแบบหนังสือเลิกจ้างประกอบด้วย
1). การบรรยายกระทำความผิด (ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร )
2). ผิดกฎหมายมาตราใดบ้างใส่ให้หมด ม. 119 (1-6), ม. 123 (1-5 ) 583
หรือข้อบังคับทำงานข้อใด
3). แจ้งวันที่จ่ายค่าจ้างค้างจ่ายงวดสุดท้าย ม. 70
4). ระบุผลประโยชน์อื่น ๆที่ไม่จ่ายให้
5). วันที่มีผลเลิกจ้าง
6). ผู้มีอำนาจเลิกจ้างลงนาม 7). แจ้งให้ผู้ถูกเลิกจ้างรับทราบ



แบ่งปันช่วงเวลาพิเศษของคุณด้วย Photo Gallery Windows Live Photo Gallery
--~--~---------~--~----~------------~-------~--~----~
----------- ร่วมกัน ถาม-ตอบ คำถามวันละ 1 กระทู้ สร้างความรู้ใหม่ได้ มหาศาล  ----------

~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~

คุณได้รับข้อความนี้เนื่องจากคุณเป็นสมาชิกกลุ่ม Google Groups กลุ่ม "บริหารทรัพยากรมนุษย์"
-  หากต้องการโพสต์ ถึงกลุ่มนี้ ให้ส่งอีเมลไปที่ siamhrm@googlegroups.com
-  หากต้องการยกเลิกการเป็นสมาชิกกลุ่ม ส่งอีเมลไปที่ siamhrm-unsubscribe@googlegroups.com (ยืนยันการยกเลิก ใน Email ของท่านอีกครั้ง.)
-  หากต้องการดูกระทู้ หัวข้อ HR โปรดไปที่กลุ่มนี้โดยคลิกที่ http://groups.google.co.th/group/siamhrm?hl=th

~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
มุมนี้มีดี ต้องแนะนำ.

http://www.siamhrm.com สยาม เอช อาร์เอ็ม รวมพลคนทำงาน มากที่สุด

http://www.jobsiam.com จ๊อบสยาม ดอทคอม หาคน หางาน คุณภาพ

http://www.freejobthai.com บริการฟรี ฟรี ฟรี ค้นประวัติ ประกาศงานว่าง ไม่จำกัด!!

http://www.downloadth.com โหลดโปรแกรมฟรีๆ เกมส์ mp3 เพียบๆๆ

~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
-~----------~----~----~----~------~----~------~--~---

ไม่มีความคิดเห็น: